วันอังคารที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2555

คำถามของการวิจัย (Research question)

คำถามของการวิจัย (Research question)

              สุวิมล ว่องวาณิช และนงลักษณ์  วิรัชชัย. (2550 : 149-150).  กล่าวไว้ว่า   คำถามของการวิจัย เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องกำหนดขึ้น (problem identification) และให้นิยามปัญหานั้น อย่างชัดเจน เพราะปัญหาที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้วิจัย กำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรที่สำคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ ถ้าผู้วิจัย ตั้งคาถามที่ไม่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจ ว่าจะศึกษาอะไร ทำให้การวางแผนในขั้นต่อไป เกิดความสับสนได้

          พจน์ สะเพียรชัย. (2516 : 98).  กล่าวไว้ว่า  เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องกำหนดขึ้น (problem identification) และให้นิยามปัญหานั้น อย่างชัดเจน เพราะปัญหาที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้วิจัย กำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรที่สำคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ ถ้าผู้วิจัย ตั้งคำถามที่ไม่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจ ว่าจะศึกษาอะไร ทำให้การวางแผนในขั้นต่อไป เกิดความสับสนได้

              http://blog.eduzones.com/jipatar/85921.   กล่าวไว้ว่า  คำถามของการวิจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องกำหนดขึ้น (problem identification) และให้นิยามปัญหานั้น อย่างชัดเจน เพราะปัญหาที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้วิจัย กำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรที่สำคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ ถ้าผู้วิจัย ตั้งคำถามที่ไม่ชัดเจน สะท้อนให้เห็นว่า แม้แต่ตัวก็ยังไม่แน่ใจ ว่าจะศึกษาอะไร ทำให้การวางแผนในขั้นต่อไป เกิดความสับสนได้ คำถามของการวิจัยต้องเหมาะสม (relevant) หรือสัมพันธ์ กับเรื่องที่จะศึกษา โดยควรมีคำถาม ที่สำคัญที่สุด ซึ่งผู้วิจัย ต้องการคำตอบ มากที่สุด เพื่อคำถามเดียว เรียกว่า คำถามหลัก (primary research question) ซึ่งคำถามหลักนี้ จะนำมาใช้เป็นข้อมูล ในการคำนวณ ขนาดของตัวอย่าง (sample size) แต่ผู้วิจัย อาจกำหนดให้มี คำถามรอง (secondary research question) อีกจำนวนหนึ่งก็ได้ ซึ่งคำถามรองนี้ เป็นคำถาม ที่เราต้องการคำตอบ เช่นเดียวกัน แต่มีความสำคัญรองลงมา โดยผู้วิจัย ต้องระลึกว่า ผลของการวิจัย อาจไม่สามารถ ตอบคำถามรองนี้ได้ ทั้งนี้เพราะ การคำนวณขนาดตัวอย่าง ไม่ได้คำนวณเพื่อตอบคำถามรองเหล่านี้


สรุป
        คำถามของการวิจัยเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องกำหนดขึ้น (problem identification) และให้นิยามปัญหานั้น อย่างชัดเจน เพราะปัญหาที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้วิจัย กำหนดวัตถุประสงค์ ตั้งสมมติฐาน ให้นิยามตัวแปรที่สำคัญ ๆ ตลอดจน การวัดตัวแปรเหล่านั้นได้ คำถามการวิจัย ควรมีความชัดเจนและสำคัญเพียงพอที่จะต้องทำวิจัย ทำเสร็จแล้วสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหาสำคัญๆ ได้ ไม่เพียงแต่ตอบสนองความรู้ที่ตนเองต้องการเท่านั้น แต่ต้องตอบสนองต่อหน่วยงาน องค์กร ผู้ป่วย ประชาชนด้วย และต้องไม่คลุมเครือหรือมีขอบเขตกว้างจนเกินไป โดยต้องระบุให้ชัดเจนว่าเราต้องการทราบอะไร นอกจากนี้คำถามการวิจัยยังเป็นสิ่งที่นักวิจัยมุ่งหวังที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับประเด็นปัญหา ซึ่งคำถามจะสามารถทำให้นักวิจัยสามารถเห็นแนวทางทางเลือกของข้อมูลที่จะเก็บรวบรวมและวิเคราะห์

แหล่งอ้างอิง
      สุวิมล  ว่องวานิช, นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2550).  แนวทางการให้คำปรึกษาวิทยานิพนธ์.  พิมพ์ครั้งที่ 2.   กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
                พจน์ สะเพียรชัย. (2516). หลักเบื้องต้นสำหรับการวิจัยทางการศึกษา เล่ม 1. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร.
                http://blog.eduzones.com/jipatar/85921 [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อวันที่  5 ธันวาคม 2555.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น